30.9 C
Bangkok
Sunday, September 8, 2024
- Advertisement -

TAG

ที่ดิน

การรถไฟแห่งประเทศไทยเจ้าของที่ดินรายใหญ่ในประเทศไทย

หน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่มีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดหัวเมืองขนาดใหญ่หลายแห่งก็เริ่มมีการนำที่ดินของตนเองออกมาหารายได้แล้ว เนื่องจากสำนักงานของตนเองไม่ได้ใช้ประโยชน์หรือเปลี่ยนรูปแบบการทำงานไปจากในอดีตแล้ว ที่ดินหรือสำนักงานขนาดใหญ่ไม่ใช่สิ่งจำเป็นอีกต่อไป เพราะรูปแบบการทำงานรวมไปถึงการให้บริการประชาชนหรือการอำนวยความสะดวกต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันบริการหลายอย่างทดแทนด้วยเทคโนโลยี ขั้นตอนเอกสารต่างๆ ก็ลดน้อยลง อีกทั้งจำนวนพนักงานหรือคนที่ทำงานในหน่วยงานก็ลดน้อยลงด้วยเช่นกัน บางจังหวัดใดก็ตามที่มีสำนักงานหลายแห่งก็อาจจะยุบรวมเหลือเพียง 1 แห่งในส่วนกลางเท่านั้นเพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย และนำที่ดินออกมาหาประโยชน์โดยการปล่อยเช่ารูปแบบต่างๆ

รัฐวิสาหกิจของไทยมีที่ดินที่ใช้ประโยชน์ไม่คุ้มค่าเยอะมาก

เจ้าของที่ดินในประเทศไทยมีหลากหลายกลุ่ม หลากหลายรูปแบบของการถือครองกรรมสิทธิ์บนที่ดิน ซึ่งถ้าไม่นับภาคเอกชนหรือบุคคลทั่วไป และนิติบุคคลต่างๆ แล้ว สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์  สำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ หน่วยงานราชการ เช่น กรมธนารักษ์ สถาบันการศึกษาหลายแห่งก็มีที่ดินขนาดใหญ่ทั้งในกรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังมีวัดหรือศาสนสถานต่างๆ...

ที่ดินหลายแปลงเปลี่ยนเป็นที่ดินเพื่อการเกษตร

ที่ดินรกร้างว่างเปล่าหลายแปลงในกรุงเทพมหานครเปลี่ยนเป็นที่ดินเกษตรกรรมมาได้หลายปีแล้ว เพราะผลกระทบจากการเก็บภาษที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง แม้ว่าในช่วงปีพ.ศ.2563 – 2565 จะมีการผ่อนผันไม่เก็บเต็ม 100% ก็ตาม แต่เจ้าของที่ดินหลายแปลงมีการขยับตัวมาก่อนหน้านี้แล้ว โดยเฉพาะเรื่องของการเปลี่ยนที่ดินรกร้างหลายแปลงเป็นที่ดินเกษตรกรรม

บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.) เปิดที่ดิน 4 แปลงเพื่อให้เอกชนที่สนใจเข้ามาลงทุน

ที่ดิน 4 แปลงที่เคยเป็นหรือปัจจุบันยังเป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารของบริษัท ขนส่ง จำกัด หรือ บขส. รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม เริ่มที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแล้ว หลังจากบางแปลงเลิกใช้ประโยชน์ในการเป็นสถานีรถโดยสารระหว่างจังหวัดมาหลายปีแล้ว เพราะย้ายไปที่ดินแปลงอื่นๆ ที่อยู่นอกเมืองมากขึ้น โดยบริษัท...

ศักยภาพที่เปลี่ยนแปลงไปของที่ดินหรือทำเลมีผลต่อการใช้ประโยชน์บนที่ดิน

เมื่อวานเขียนถึงเรื่องของโรงภาพยนตร์ ปั๊มน้ำมัน ปั๊มแก๊ส โรงเรียนเอกชนต่างๆ ที่หายไปจากกรุงเทพมหานคร และอีกหลายๆ จังหวัด นอกจากจะเป็นเพราะอะไรหลายๆ อย่างที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว เรื่องของศักยภาพที่เปลี่ยนแปลงไปของที่ดินหรือทำเล

ที่ดินราคาไม่ลดลง แม้จะมีการซื้อขายไม่มาก

การซื้อขายที่ดินอาจจะดูแล้วไม่คึกคักไปบ้างในช่วง 1 – 2 ปีที่ผ่านมา เพราะผู้ประกอบการให้ความสนใจในทำเลที่ราคาที่ดินไม่สูงมาก เนื่องจากให้ความสนใจกับโครงการคอนโดมิเนียมราคาไม่แพง รวมไปถึงโครงการบ้านจัดสรรซึ่งไม่จำเป็นต้องซื้อที่ดินราคาแพงมาพัฒนาเป็นโครงการที่อยู่อาศัย รวมไปถึงผู้ประกอบการบางรายมีการร่วมทุนในการพัฒนาโครงการกับเจ้าของที่ดินที่เริ่มทบทวนการถือครองที่ดินของตนเองมากขึ้น เพราะมีภาระเรื่องของภาษีที่ดินมากดดันเพิ่มเติม

ที่ดินหลายแปลงในกรุงเทพมหานครเปลี่ยนเป็นที่ดินปลูกพืช เลี้ยงสัตว์

เจ้าของที่ดินแปลงใหญ่หลายแปลงในกรุงเทพมหานคร มีการเตรียมการเพื่อรับมือภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เนื่องจากช่วงเวลานี้อาจจะยังไม่ใช่เวลาที่เหมาะสมในการพัฒนาโครงการบนที่ดินของตนเอง โดยเฉพาะที่ดินแปลงใหญ่ๆ                 ที่มีมูลค่าที่ดินสูงๆ เจ้าของที่ดินแปลงใหญ่หลายแปลงในกรุงเทพมหานครที่เป็นผู้ประกอบการมีการเปลี่ยนการใช้ประโยชน์บนที่ดิน

Latest news

‘ปูนซีเมนต์นครหลวง’ ผนึกพาร์ทเนอร์ รุกอสังหาฯ สีเขียว

ปูนซีเมนต์นครหลวง’ ปูทางสู่อนาคต “สิ่งแวดล้อมที่ดี ธุรกิจเติบโตยั่งยืน” ดันนวัตกรรมปูนซีเมนต์-คอนกรีตคาร์บอนต่ำ สู่การใช้งานในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้างของไทย ผ่านโมเดลความร่วมมือกับพันธมิตร ร่วมลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์ มุ่งมั่นสร้างการมีส่วนร่วมกับพันธมิตร ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เดินหน้าสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ (Net Zero) ในปี 2573 นายมนตรี นิธิกุล...

แลนดี้ โฮม จับมือ Gluta Story เปิดตัวแบบบ้านใหม่

ศูนย์รับสร้างบ้านแลนดี้ โฮม (Landy Home) ตอกย้ำภาพผู้นำตลาดรับสร้างบ้าน จับมือ “Gluta Story” Influencer ชื่อดังสายสัตว์เลี้ยง ขวัญใจคนรักสัตว์ พัฒนาแบบบ้านใหม่ “Pet Friendly Collection” เจาะกลุ่มตรงใจสาย Pet Lover 2 แบบ 2 สไตล์...

กลุ่มรัตนรักษ์เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในปูนซีเมนต์นครหลวง

ในวันนี้ กลุ่มรัตนรักษ์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดของปูนซีเมนต์นครหลวงได้เข้าซื้อหุ้นเพิ่มเติมในจำนวนร้อยละ 25.54 จาก Jardine Cycle & Carriage Limited ส่งผลให้สัดส่วนการถือหุ้นของกลุ่มรัตนรักษ์รวมกันเพิ่มขึ้นเป็นประมาณร้อยละ 71.88 ซึ่งการเข้าซื้อหุ้นในครั้งนี้ทำให้ต้องมีการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ที่เหลือทั้งหมดจากผู้ถือหุ้นรายย่อยตามมา ทั้งนี้ บริษัทเข้าใจว่า ไม่ว่าการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวจะมีผลเป็นอย่างไร ปูนซีเมนต์นครหลวงจะยังคงเป็นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต่อไปตามข้อกำหนดเกี่ยวกับการจดทะเบียนที่เกี่ยวข้อง โดยภายหลังการเข้าซื้อหุ้นในครั้งนี้ กลุ่มรัตนรักษ์ ในฐานะผู้ก่อตั้งปูนซีเมนต์นครหลวงขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 จะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้ถือหุ้นที่มีอํานาจควบคุมเพียงรายเดียว

ครั้งแรกของประเทศ! “LIV-24” ผนึก “ภาครัฐผู้กำกับนโยบายอุตสาหกรรม”

• ปรากฏการณ์ครั้งสำคัญของประเทศไทย ภาครัฐ โดยกระทรวงอุตสาหกรรม กนอ. และ สภาอุตสาหกรรม ผนึกกำลังภาคเอกชน โดย LIV-24 จัดงานใหญ่แห่งปี ก้าวข้ามขีดจำกัด สู่ยุคอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนด้วย AI และ INDUSTRIAL TECH • ผู้ประกอบการเร่งปรับตัว...

‘พาร์คสีลม’ ต้อนรับเจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์)

“พาร์ค สีลม” อาคารสำนักงานเกรดเอ เปิดบ้านต้อนรับ เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) เปิดสำนักงานใหม่ ใจกลางถนนสีลม นางอรฤดี ณ ระนอง กรรมการบริหาร บริษัท นายณ์ แอนด์ อาร์จีพี ดีเวลลอปเม้นท์...
- Advertisement -